Page 22 - หนังสือกฐินพระราชทาน_011164
P. 22

ี
                                                                                                                                                               ิ
                                                                                                                                                       ี
        22  พิธถวายผ้าพระกฐนพระราชทาน                                                                                                                 พิธถวายผ้าพระกฐนพระราชทาน
                     ิ
                                                                                                                                                                  ำ
                                   ี
                       ำ
            ธนาคารเพื ่ อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย ประจาป ๒๕๖๔                                                                                   เข้าแห่งประเทศไทย ประจ ป ๒๕๖๔
                                                                                                                                                                   ี
                                  ำ
                   จากความหมายขางตนจะเห็นวามีความเกี่ยวของกัน  ๔  ประการ
           เมื่อสงฆทำสังฆกรรมเรื่องกฐินเสร็จแลว  และประชุมกันอนุโมทนากฐินคือ
           แสดงความพอใจวาไดกรานกฐินแลวก็เปนอันเสร็จพิธี คำวา กรานกฐิน คือ
           การลาดผาหรือทาบผาลงไปกับกรอบไมแมแบบเพื่อตัด เย็บ ยอม ทำเปน

           จีวรผืนใดผืนหนึ่ง
                   คำอีกคำหนึ่งที่ไดยินกันกอนจะมีการทำบุญกฐิน  คือ  การจองกฐิน

           หมายถึง การแสดงความจำนงเปนลายลักษณอักษรหรือดวยวาจาตอทางวัด

           วาจะนำกฐินมาถวาย  เมื่อใดนั้นแลวแตจะตกลงกัน  แตจะตองภายในเขต

           เวลา ๑ เดือน ตามที่กำหนดในพระวินัย (ตั้งแตวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑
           ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒)

                   อีกคำหนึ่งที่จะไดยินในขณะที่มีพิธีการทอดกฐิน คือคำวา อปโลกน

           กฐิน  หมายถึงการที่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเสนอขึ้นในที่ประชุมสงฆ  ถามความ

           เห็นชอบวาควรมีการกรานกฐินหรือไม เมื่อเห็นชอบรวมกันแลวจึงหารือกัน
           ตอไปวา  ผาที่ทำสำเร็จแลวควรถวายแกภิกษุรูปใด  การปรึกษาหารือ  การ

           เสนอความเห็นเชนนี้เรียกวา  อปโลกน  (อานวา  อะ-ปะ-โหลก)  หมายถึง

           การชวยกันมองดูวาจะสมควรอยางไร  เพียงเทานี้ก็ยังใชไมได  เมื่ออปโลกน

           เสร็จแลว ตองสวดประกาศเปนการกสงฆ จึงนับวาเปนสังฆกรรมเรื่องกฐิน
                   ในปจจุบัน  มีผูถวายผากฐินมากขึ้น  มีผูสามารถตัดเย็บยอมผาที่จะ

           ทำเปนจีวรไดแพรหลายขึ้น  การใชไมแมแบบอยางเกาจึงเลิกไป  เพียงแต

           รักษาชื่อและประเพณีไวโดยไมตองใชกรอบไมแมแบบ เพียงถวายผาขาว

           ใหตัดเย็บยอมใหเสร็จในวันนั้น  หรืออีกอยางหนึ่งนำผาสำเร็จรูปมาถวาย
           ก็เรียกวาถวายผากฐินเหมือนกัน  เนื่องจากยังมีประเพณีนิยมถวายผากฐิน

           กันแพรหลายไปทั่วประเทศไทย จึงนับวาเปนประเพณีนิยมในการบำเพ็ญกุศล

           เรื่องกฐินนี้ยังเปนการบำเพ็ญสาธารณประโยชนรวมกัน เปนการบูรณปฏิสังขรณ

           วัดวาอาราม




   64-10-093_003-156_EximBank_CoatedFogra39_W.indd   22                     27/10/2564 BE   04:23
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27