Page 7 - 2567_หนังสือกฐิน_วัดสุทธจิดา.indd
P. 7

6







                                       ประวัติ

                                  วัดสุทธจินดา






                  วัดสุทธจินดา เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ
            ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยูเลขที่ ๗๗๔ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง

            จังหวัดนครราชสีมา ไดสถาปนาเปนพระอารามหลวงเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๔๗๘
                      วัดสุทธจินดาตั้งขึ้นโดยรวมวัด ๒ วัด คือ วัดบรมจินดา กับวัดสมบูรณจิ๋ว
            โดยวัดบรมจินดาอยูทางทิศใตของบริเวณวัด พระบรมราชบรรหาร เจาของที่ดิน

            กับพวกคือ จีนอวมและจีนนอย พรอมทั้งบุตรภรรยารวมกันสราง ชื่อวัดก็ตั้งตาม
            ผูสรางคือ คำวา “บรม” มาจากบรมราชบรรหาร “จิน” มาจากจีน “ดา” มาจาก
            ภาษาพื้นเมืองวา ดวยหรือดวยกัน รวมความวาวัดนี้พระบรมราชบรรหารกับจีน
            รวมกันสราง จัดเปนเขต “พุทธาวาส” มีพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ ตึกอนุสรณ
            ๕๐ ป และโรงเรียนสตรี “สุรนารี” ตั้งอยูในที่ดิน สวนวัดสมบูรณจิ๋ว สรางทีหลัง

            วัดบรมจินดา ชาวบานเรียกกันวา วัดหนาทอ วัดเมรุ หรือวัดใหม อยูทางทิศเหนือ
            มีชื่อตามผูสรางคือ นางสมบูรณ ภริยาหลวงพรหมเสนา และชาวจีนชื่อวาจิ๋ว
            จัดเปนเขต “สังฆาวาส” มีเสนาสนะสงฆ หอสมุดแหงชาติ รวมถึงอาคารที่ตั้ง

            พุทธสมาคมและยุวธิกสมาคมประจำจังหวัดนครราชสีมา
                  เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ ทางราชการยายศาลารัฐบาลวาการมณฑลนครราชสีมา
            จากกลางเมือง มาตั้งที่มุมกำแพงเมืองทิศตะวันตกเฉียงใต เมื่อสรางศาลารัฐบาล
            เปนตึกสองชั้นและตึกอื่น ๆ ที่จำเปนเสร็จแลว ไดรื้อกำแพงเมืองดานตะวันตก
            เปดสนามหนาศาลารัฐบาลใหมองเห็นที่ทำการรัฐบาลและสนามงามสงา ทำให

            เห็นวัดสมบูรณจิ๋วและวัดบรมจินดาอันตั้งอยูนอกคูเมืองดูชำรุดทรุดโทรม
            ใน พ.ศ. ๒๔๖๗ คณะขาราชการทหารพลเรือนและพอคาคหบดี ซึ่งมีพระยา
            เพ็ชรปาณี (ดั่ง รักตประจิตร) สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครราชสีมาเปนประธาน

            ไดปรึกษากัน คิดพัฒนาวัดขึ้นใหม โดยรวม ๒ วัด แลวจัดสรางขึ้นใหมเพื่อใหเปนที่
            สถิตของพระมหาเถระ ผูดำรงตำแหนงเปนเจาคณะมณฑลนครราชสีมาในสมัยนั้น
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12