 |
 |
 |
 |
|
ปัจจุบันนานาประเทศต่างเร่งบังคับใช้นโยบายด้านความยั่งยืนอย่างเข้มข้นมากขึ้นเป็นลำดับ หลังจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (Climate Change) ทวีความรุนแรงขึ้น ผนวกกับวิกฤต COVID-19 ที่สร้างความเสียหายเป็นวงกว้าง ส่งผลให้สหประชาชาติ
(United Nations: UN) ได้ย้ำเตือนให้ทุกฝ่ายหันมาให้ความสำคัญต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันรับมือกับวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ในอนาคตและบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ภายในปี 2573 หลายประเทศจึงประกาศใช้นโยบายหรือมาตรการด้านความยั่งยืนทั้งในประเทศของตนเองและที่เกี่ยวข้องกับคู่ค้าระหว่างประเทศอย่างจริงจัง ดังนั้น ผู้ประกอบการไทยซึ่งเป็นหนึ่งใน Supply Chain สำคัญของโลก ควรให้ความสำคัญและปฏิบัติตามมาตรฐานด้านความยั่งยืนของประเทศคู่ค้าเพื่อไม่ให้เป็นข้อจำกัดต่อการส่งออก รวมถึงเพิ่มโอกาสการขยายตลาดในกลุ่มผู้บริโภครุ่นใหม่ที่นับวันจะยิ่งให้ความสำคัญกับความยั่งยืนมากขึ้น |
|
|
 |
 |
 |
 |
|
ตัวอย่างมาตรการระดับประเทศ |
|
|
 |
 |
|
หลายประเทศกำหนดให้ประเทศคู่ค้าต้องปฏิบัติตามมาตรฐานด้านความยั่งยืน โดยอาจเรียกเก็บภาษีนำเข้าเพิ่มเติมหรือจะไม่นำเข้าสินค้าจากประเทศคู่ค้าที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานดังกล่าว เช่น |
|
|
 |
 |
 |
 |
|
ตัวอย่างมาตรการระดับบริษัท |
|
|
 |
 |
|
บริษัทชั้นนำของโลกหลายแห่งประกาศจะไม่นำเข้าสินค้า/วัตถุดิบหรือดำเนินธุรกิจกับคู่ค้า/Suppliers ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการด้านความยั่งยืนที่บริษัทกำหนด เช่น |
|
|
 |
 |
 |
 |
|
คำแนะนำสำหรับผู้ประกอบการไทย |
|
|
 |
 |
|
 |
3P สร้างมาตรฐานความยั่งยืนตลอดวงจรธุรกิจ |
|
 |
|
 |
 |
|
Disclaimer : ข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏ เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการเผยแพร่ข้อมูลเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเท่านั้น
โดยธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลนำข้อมูลนี้ไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด |
|
|
 |
|
ที่มาของรูปภาพ : |
Icon made by Freepik, Roundicons, Flat Icons, Smashicons, European Commission, Blauer-Engel, Freelogovectors, 1000 Logos, Apple, Slidesgo, Vectors Market, srip
|
 |
|
|
 |
|
|
|