Page 26 - 2566_หนังสือกฐิน_วัดอนงคาราม.indd
P. 26

25
 ิ
 พิธถวายผ้าพระกฐนพระราชทาน
 ี
 ี
 เข้าแห่งประเทศไทย ประจ ป ๒๕๖๔
 ำ
                                       บทที่  ๒

                         ความเปนมาของการทอดกฐิน








                   ในคัมภีรพระไตรปฎก  กฐินขันธกะ  กลาววาในสมัยนั้น  พระผูมี

           พระภาคเจาประทับอยู ณ เชตวันมหาวิหาร กรุงสาวัตถี แควนโกศล ภิกษุ
           ชาวเมืองปาเฐยยะ (ปาฐา) ประมาณ ๓๐ รูป ซึ่งเปนผูถือการอยูปา การเที่ยว

           บิณฑบาต  นุงหมผาบังสุกุล  (ผาเก็บตกมาปะติดปะตอทำเปนจีวร)  และใช

           จีวร ๓ ผืนเปนวัตร เดินทางมาเฝาพระผูมีพระภาคเจา เหลือระยะทางอีก ๖
           โยชน  (๙๖  กิโลเมตร)  ถึงวันเขาพรรษา  ตองจำใจจำพรรษาอยูในเมือง

           สาเกต  มีความระลึกถึงพระบรมศาสดา  เมื่อออกพรรษาแลวฝนยังตกอยู

           แผนดินยังชุมชื้นดวยน้ำ เปนหลมเลน พวกพระเหลานั้นไดเดินทางมาเขาเฝา

           ดวยจีวรที่ชุมชื้นดวยน้ำ  เหน็ดเหนื่อย  ตองบุก  ตองลุยมาจนกระทั่งถึงกรุง

           สาวัตถี ไดเขาเฝาพระพุทธเจาสมความประสงค
                   พระพุทธเจาทรงมีปฏิสันถารกับภิกษุเหลานั้นเรื่องการจำพรรษาอยู

           ณ เมืองสาเกต และการเดินทาง ภิกษุเหลานั้นจึงกราบทูลถึงความตั้งใจ ความ

           รอนรนกระวนกระวาย และการเดินทางที่ลำบากใหทรงทราบทุกประการ
                   พระพุทธเจาทรงทราบ  และเห็นความลำบากของภิกษุ  จึงทรงยก

           เปนเหตุและมีพระพุทธานุญาตใหพระภิกษุผูจำพรรษาครบถวนแลวกราน

           กฐินได  และเมื่อกรานกฐินแลว  จะไดรับอานิสงสตามที่กำหนดในพระวินัย

           ๕ ประการคือ

                   ๑. เที่ยวจาริกไปไมตองบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แหงอเจลกวรรค
                   ๒. เที่ยวจาริกไปโดยไมตองถือไตรจีวรไปครบสำรับ









   64-10-093_003-156_EximBank_CoatedFogra39_W.indd   23                     27/10/2564 BE   04:23
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31