Page 28 - 2566_หนังสือกฐิน_วัดอนงคาราม.indd
P. 28

27
 ิ
 พิธถวายผ้าพระกฐนพระราชทาน
 ี
 ี
 เข้าแห่งประเทศไทย ประจ ป ๒๕๖๔
 ำ
            ประเภทของกฐิน
                   กฐินมีหลายประเภท  ซึ่งลวนแตมีขอกำหนด  กระบวนการ  และ

            ขั้นตอนของพิธีกรรมที่แตกตางกัน  ดังจะไดกลาวถึงกฐินหลายประเภท

            การทอดกฐินที่ปฏิบัติกันในประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันแยกเปน

            ประเภทใหญ ๆ ได ๒ ประเภท คือ พระกฐินหลวง และ กฐินราษฎร



            พระกฐินหลวง

                   มีประวัติเลาวา เมื่อพระพุทธศาสนาไดแพรหลายเขามายังสุวรรณภูมิ

            และประดิษฐานอยูบนผืนแผนดินนี้  และประชาชนคนไทยที่ตั้งหลักแหลง
            อยูบนผืนแผนดินไทย ไดยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาวาเปนศาสนาประจำ

            ชาติแลว การทอดกฐินก็ไดกลายเปนประเพณีสืบทอดกันมา พระเจาแผนดิน

            ผูปกครองบานเมืองทรงรับเรื่องกฐินขึ้นเปนพระราชพิธีอยางหนึ่งซึ่งทรงบำเพ็ญ

            เปนการประจำทุกป เมื่อถึงเทศกาลทอดกฐิน การที่พระเจาแผนดินทรงบำเพ็ญ
            พระราชกุศลเกี่ยวกับกฐินดังกลาวนี้  เปนเหตุใหเรียกวา  พระกฐินหลวง

            วัดใดก็ตาม  ไมวาจะเปนวัดหลวงหรือวัดราษฎร  หากพระเจาแผนดินเสด็จ

            พระราชดำเนินไปทรงถวายผาพระกฐินดวยพระองคเอง เรียกวา พระกฐินหลวง

            ทั้งสิ้น มิใชกำหนดวาทอดที่วัดหลวงเทานั้น จึงเรียกวาพระกฐินหลวง
                   แตสมัยตอมา เมื่อบานเมืองเจริญขึ้น เรื่องของพระกฐินหลวงได

            เปลี่ยนไปตามภาวการณของบานเมือง  เชน  ประชาชนมีศรัทธาเจริญรอย

            ตามพระราชศรัทธาของพระเจาแผนดิน  ไดรับพระมหากรุณาพระราชทาน

            ใหบุคคล หรือหนวยงานตาง ๆ นอมนำไปทอดถวายผาพระกฐินไดตามสมควร
            แกฐานะ เปนตน เปนเหตุใหแบงพระกฐินหลวงออกเปนประเภทตามที่ปรากฏ

            ในปจจุบัน ดังนี้










   64-10-093_003-156_EximBank_CoatedFogra39_W.indd   25                     27/10/2564 BE   04:23
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33